ขั้นตอนการเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิด้วยสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
1. คัดเลือกเกษตรกรและพื้นที่
2. คัดเลือกโรงสีข้าว
3. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับเงื่อนไขแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการ
4. อบรมความรู้การผลิตข้าว GAP และข้าว GI แก่เกษตรกรและผู้ประกอบการ
5. ยื่นขอการรับรองการผลิตข้าว GAP
6. ตรวจประเมินโดยหน่วยงานรับรองภายนอก
7. ตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพผลผลิตข้าวเปลือกตามเกณฑ์ GAP
8. ตรวจสอบคุณภาพทางเคมีผลผลิตข้าวเปลือกตามเกณฑ์ที่ขึ้นทะเบียนกรมทรัพย์สินทางปัญญาและสหภาพยุโรป
9. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ (Traceability)
จุดเด่นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
1. สร้างมูลค่าเพิ่ม
2. เป็นที่ต้องการในตลาดเฉพาะ
3. การถ่ายทอดความเป็นมาของสินค้า (Story)
ประโยชน์ของการตรวจสอบย้อนกลับ
1. สามารติดตามข้อมูลย้อนกลับกึงเกษตรกรผู้ผลิตข้าวแหล่งผลิตข้าว รวมกึงการควบคุมคุณภาพข้าว
2. สามารกตรวจสอบย้อนกลับถ้วยระบบอิเลคทรอนิกส์ที่มีการสร้าง QR code ที่สามารกใช้โทรศัพท์มือถือ (Smart phone)
3. สร้างความเข้อมโยงระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคเพื่อสร้างการรับรู้ทางลังคม
ที่มาของข้อมูล
1. เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
2. สวก.
3. วช
4. กรมการข้าว